Home Blog Page 37

ต้องจำภาษาจีนทั้งหมดกี่ตัว ถึงใช้ภาษาจีนได้? ท้อแท้นะ สิบอกให้ ตอนที่ 2

最常用的 1,000个汉字 อักษรจีน1,000 ตัวที่ใช้บ่อย

ต้องขอขอบคุณมิตรรักแฟนๆ ที่ให้ความสนใจกับ ‪#‎อักษรจีน‬ ใช้บ่อย เป็นอย่างมากนะคะ และตามที่ขอมาค่ะ สุ่ยหลินจัดให้ โดยหามาเพิ่มจากคราวที่แล้ว รวมคราวนี้แล้วก็ครบพันตัวพอดี

แต่อย่าดูถูกไป เพราะ 1 พันตัวเนี้ย ถ้าอ่านออกก็ถือว่าอ่านหนังสือทั่วไปได้ประมาณ 90% แล้วนะคะ ไม่ธรรมดาเลยใช่ไหม อีก 7 หมื่นกว่าตัวเอาขึ้นหิ้งไว้ก่อน

ต้องจำภาษาจีนทั้งหมดกี่ตัว ถึงใช้ภาษาจีนได้? ท้อแท้นะ สิบอกให้ ตอนที่ 1

ปัญหาหลักของคนไทย (และสุ่ยหลินแรกๆ) ในการเรียนภาษาจีนก็คือรู้สึกว่าต๊อแต้ สิ้นหวังในการจำตัวอักษรภาษาจีนมาก สรุปว่ามีกี่ตัวกันแน่ แล้วชั้นต้องจำอีกกี่ตัว? กว่าจะใช้งานได้ ถ้าเป็นงี้แล้วเมื่อไหร่ชั้นจะใช้ภาษาจีนได้ซะที?

วันนี้มีคำตอบที่อ่านแล้วจะแปลกใจ (เหมือนสุ่ยหลิน) ค่า อิ อิ ติดตามโลด

‪พินอิน คืออะไร‬ อ่านออกไปแล้วคนจีนยังงง???

拼音

สวัสดีค่าแฟนเพจที่น่ารักของสุ่ยหลินทุกคน^^ สุ่ยหลินมักได้รับคำถามจากแฟนเพจที่น่ารักว่าตอนเริ่มเรียนภาษาจีนใหม่ๆ เนี่ย พินอิน (拼音) [pīnyīn] คืออะไร? เราจำเป็นต้องเรียนด้วยเหรอ? เรียนแล้วได้ประโยชน์อะไร??

แล้วถ้าหากอยากจะเรียนแค่พูดอย่างเดียว ไม่ได้เรียนอ่านเขียนซักกะหน่อย อย่างนี้ต้องรู้พินอินมั๊ย?? คราวนี้เรามาทำความรู้จัก‪พินอินกันดีกว่าค่ะ สุ่ยหลินถือว่าเป็นเครื่องมือสำคัญมากๆ เลยนะกับคนเริ่มแรกเรียนจีนอย่างเราจ๊ะ

มาติดตามว่า พินอินคืออะไร‬ อ่านออกไปแล้วคนจีนยังงง?? ในโพสนี้กะสุ่ยหลินเลยค่าาา^^

6 เทคนิค สกิลชอปปิ้งขั้นเทพที่‪เมืองจีน

สุ่ยหลินไปอ่านเจอบทความนี้มาค่ะ เค้าเขียนให้ฝรั่งอ่านไว้เวลาไป ‪ซื้อของที่เมืองจีน แต่อ่านแล้วมีประโยชน์ดีค่ะ คนไทยอ่านได้ฝรั่งอ่านดี สุ่ยหลินเลยขอมาเล่าสู่กันฟัง อย่าหาว่าเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนน้า เพราะสำหรับมือใหม่หัดซื้อ เราจะได้ไม่ตกประหม่า โดนมนต์แม่ค้าหรือโดนคนจีนหลอกได้ง่ายๆ

มาติดตามกันเนอะ

得 คืออะไรกานพี่น้อง?? ตอนที่ 2: 得+上 (ขึ้น) หรือ 下 (ลง)

ก่อนอื่นสุ่ยหลินขอขอบคุณมากค่า สำหรับยอด Like และ View ที่ล้นหลามสำหรับตอนที่ 1 ที่เล่าเรื่อง 得(de)(เตอะ) ไปค่า ดีใจจุงที่โพสมีประโยชน์กะคนหมู่มาก สุ่ยหลินกรุยทางไว้เป็นอบต.นะรู้ป่าว!

มาต่อตอนที่สองกันค่ะ ขอทบทวนนิดนุงนะ จากที่อ่านตอนแรกกันไปแล้ว
得 มีวิธีการใช้คือ กริยา + 得 + ความเป็นไปได้ของกริยา
หากว่าเราจะใช้ในรูปปฏิเสธ ก็ใช้ 不 แทนที่ 得 นะจ๊ะ

得 คืออะไรกานพี่น้อง?? ถ้าเป็นภาษาไทยต้องแปลไหม ถ้าแปลแล้วแปลว่าอะไรอ่ะ (ตอนที่ 1)

สุ่ยหลินมั่นใจล้านเปอร์เซ็นต์ว่าคนเรียนภาษาจีนใหม่ๆ ต้องได้เจอกับตัวอักษรตัว 得 [de] เนี้ย แล้วก็จะงงว่ามันคืออาไล ทำไมต้องมี มีหรือไม่มีในประโยคก็ความหมายเท่าเดิม (เด๊ะ!) แล้วเวลาแปลต้องแปลไหมฮึ?

วันนี้มาเคลียร์ใจใสกระจ่างกับ 得 กันน้า

เรื่องของชา: เส้นทางของใบชาหลงจิ่ง 茶事:一片龙井树叶的旅行

วันนี้มีเรื่องน่าสนใจมาฝากค่ะเป็นเรื่องโลกของใบชาหลงจิ่ง ที่เป็นชาที่ (ว่ากันว่า) ดีที่สุดประเภทหนึ่ง โดยข่าวนี้เล่าถึงเส้นทางของใบชา 3 สาย ได้แก่คนเก็บใบชา เจ้าของร้านชาและคนดื่มชา ว่ามีเส้นทางหรือที่มาที่ไปเป็นอย่างไร

สุ่ยหลินเองก็ได้ยินมานานว่าชาหลงจิ่งที่ดีที่สุดอยู่ที่หางโจว แต่เพิ่งรู้ว่าชาหลงจิ่งที่แพงที่สุดคือใบชาต้นเทศกาลเช้งเม้ง มาติดตามเรื่องราวของใบชาหลงจิ่งที่ขายกันเป็นกรัมตั้งแต่กรัมละ 300 จนไปถึงกรัมละ 3,000 บาท

ติดตามกันได้เลยค่ะ

夕阳婚纱梦 ชุดแต่งงานในฝันยามพระอาทิตย์ตก

สวัสดีค่าแฟนเพจที่น่ารักของสุ่ยหลิน^^ วันนี้สุ่ยหลินมีเรื่องหวานๆ ชวนประทับใจมาเล่าให้ฟังนะคะ เป็นเรื่องที่แปลมาจากเว็บไซด์ Sina.com.cn เล่าเรื่องชีวิตคู่แต่งงานคุณตาคุณยายที่น่ารักมากๆ ไม่เสียเวลาติดตามกันเลยนะคะ

หลังจากใช้ชีวิตฉันสามีภรรยามากว่าทศวรรษ แต่คุณตาคุณยายไม่เคยได้มีโอกาสสวมชุดแต่งงานจริงๆ สักครั้ง ได้มีกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยคณะสื่อสารมวลชนกลุ่มหนึ่ง จัดให้มีการถ่ายภาพแต่งงานสำหรับผู้สูงอายุจำนวน 31 คู่ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ทั้งหมดก็เพื่อเติมเต็มความฝันของผู้สูงอายุกลุ่มหนึ่งให้เป็นจริง พาพวกเขาหวนระลึกกลับไปถึงชีวิตคู่ในอดีตเมื่อยามเยาว์วัยค่ะ

รูปภาพของฉัน ความฝันของฉัน (我的照片我的梦)

สวัสดีค่ะ post ครั้งนี้อาจเป็นแนวรายการคนค้นคนไปบ้างนะคะ ไปอ่านเจอมาคิดว่าน่าสนใจ ให้มุมมองในสายตาของเด็กๆ ซึ่งครั้งหนึ่งเราก็เคยผ่านมา เรื่องราวของเด็กบางคนอาจทำให้อมยิ้มได้ บางเรื่องก็อดเศร้าใจไปด้วยไม่ได้ ลองอ่านกันดูนะคะ

รูปภาพของฉัน ความฝันของฉัน (我的照片我的梦) [wǒ de zhàopiàn wǒ de mèng] (หว่อ เตอะ เจ้า เพี่ยน หว่อ เตอะ เมิ่ง)

เกร็ดจีน: ชื่อจีนทำงง

ประเทศไทยเราเป็นประเทศที่นิยมทับชื่อเรียกจากภาษาอังกฤษ เราเรียก “แมคโดนัล” (Mcdonald), “เคเอฟซี” (KFC), “สตาร์บัค” (Starbucks) , “คาร์ฟูร์” (Carrefour), “อีเกีย” (IKEA) ฯลฯ แต่สำหรับจีน ไม่เลยอย่างสิ้นเชิง คนจีนได้คิดชื่อจีนเหล่านี้ขึ้นมาเรียบร้อย และที่สำคัญ “ไม่เรียกทับเสียง” เลยค่ะ ยกตัวอย่างง่ายๆ สมมติว่าเรียกแท็กซี่ที่เมืองจีนเพื่อไปส่งที่คาร์ฟูร์ บอกว่า “ไปคาร์ฟูร์” แท็กซี่จะงงงวยมากมายว่าจะไปที่ไหนกันแน่

ดังนั้นมารู้ชื่อทับศัพท์จีนไว้ไม่เสียหลายแน่นอน